Basic of Graphic Design
ผู้สอน : ภาวินท์ โล่ห์ตระกูลวัฒน์
Founder, JaLearn Media
12 บทเรียน
มีไฟล์ประกอบการเรียน
ความยาว 1 ชั่วโมง
ไม่มีวันหมดอายุ
เนื้อหา
คอร์ส Content
รู้ก่อน Learn
ประเภท Artist Designer
หลักการออกแบบ
การวางแผน
วิเคราะห์งาน
แบบสอบถามหลังเรียน
รายละเอียด
เกี่ยวกับคอร์ส
ภาวินท์ โล่ห์ตระกูลวัฒน์
เหมาะกับใคร
• ผู้เรียนเริ่มต้น ไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการออกแบบกราฟิก
• เจ้าของธุรกิจ / ผู้ประกอบการ มีแบรนด์เป็นของตัวเอง และต้องบรีฟงานให้ได้ตรงกับความต้องการของตัวเอง เข้าใจถึงสิ่งที่จะต้องเตรียมให้กับกราฟิกดีไซน์เพื่อการสร้างงาน
เรียนจบได้อะไร
• เข้าใจทฤษฎีพื้นฐานกการออกแบบกราฟิก
• ประยุกต์ใช้งานออกแบบได้หลากหลาย
• เข้าใจการทำงานของกราฟิกดีไซน์
สิ่งที่ต้องมี
โปรแกรม
คำถามที่พบบ่อย
คอร์สออนไลน์มีวันหมดอายุไหม
– คอร์สออนไลน์สามารถดูได้ตลอด ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
สามารถถาม-ตอบระหว่างการเรียนได้หรือเปล่า
– พวกเรามีทีมแอดมินคอยตอบข้อสงสัย ตลอดเวลาทำการ
สั่งซื้อคอร์สออนไลน์ยังไง
– วิธีการสั่งซื้อสามารถดูได้ที่ https://learn.jalearnmedia.com/how-to-buy-online-courses/
มีเอกสารประกอบการเรียนหรือเปล่า
– ทุกคอร์สมีเอกสารประกอบการเรียน สำหรับบทเรียนไหนที่มี ให้กดที่ “เอกสาร”
รีวิวจากผู้เรียน
“เนื้อหาเรียนง่าย เข้าใจดีค่ะ ก่อนเรียนเราไม่มีพื้นฐานเรื่องโปรแกรมนี้เลย เอกสารประกอบการเรียนก็ดีค่ะ แถมยังมีแบบฝึกหัดให้ทำเรื่อยๆ ตอนนี้ก็สามารถนำไปใช้
ต่อยอดในการทำงานได้เยอะเลยค่ะ”
คุณสายป่าน
“คอร์สนี้ดีตรงที่ไม่มีระยะเวลาเรียนที่จำกัดค่ะ ทำให้อ๋อมสามารถจัดสรรเวลาได้ค่ะ สามารถเรียนเมื่อไหร่ ที่ไหนก็ได้ค่ะ เนื้อหามีอัพเดทเรื่อยๆ ตรงไหนอ๋อมไม่เข้าใจก็ไปถามใน Line ตลอด”
คุณอ๋อม
“คอร์สเรียนของ JaLearn ทำให้คนที่ไม่มีพื้นฐานอย่างเราสามารถนำสิ่งที่ได้จากการเรียนออนไลน์ไปต่อยอด และประยุกต์ใช้ในงานที่ทำได้ สามารถช่วยลดระยะเวลาในการทำงานเป็นอย่างมาก”
คุณสุจิตรา
“เป็นคอร์สที่สะดวกสบายมากเลยครับ ขนาดไม่มีความรู้เรื่องนี้มาก่อนก็สามารถทำตามได้ไม่ยาก”
คุณพงศธร
“ชอบมาก เนื้อหากระชับ เข้าใจง่าย”
คุณพนมรุ้ง ริมประโคน
“สอนเข้าใจง่ายมากครับ เรียนเสร็จผมมีความรู้มากขึ้น คีย์ลัดแม่นขึ้น สามารถใช้เครื่องมือต่างๆมาประยุกต์ใช้ได้”
Phongsakorn Laoborwornphong
“เข้าใจง่ายใช้ได้จริง”
คุณอาภา ศรีมงคลปทุม
“อธิบายรู้เรื่อง เข้าใจง่าย และบรรยากาศน่าเรียนรู้”
คุณหฤษฎ์ ปราชญ์เมธีกุล