การจัดองค์ประกอบศิลป์ หรือ Composition คือ การนำ จุด เส้น สี แสง – เงา รูปร่าง รูปทรง น้ำหนักเข้ม – อ่อน พื้นที่ว่าง และพื้นผิว มาจัดวางรวมกันอย่างสมดุลตามหลักการจัดองค์ประกอบ เพื่อนำเสนอให้งานออกแบบสามารถสื่อสารให้กับผู้ชมได้ดีที่สุด รวมทั้งเป็นการนำเสนอคุณค่าของงานให้มากขึ้น โดยหลักการการจัดองค์ประกอบเหล่านี้สามารถใช้ได้กับงานออกแบบทุกประเภท ทั้งงานออกแบบทั่วไป ภาพประกอบ การ์ตูน แอนิเมชั่น โมชั่นกราฟิก งานภาพถ่าย และอื่น ๆ
1. เอกภาพ (Unity)
1.1. เอกภาพของการแสดงออก
1.2. เอกภาพของรูปทรง
1.2.1. การจัดวางแบบขัดแย้ง
1.2.2. การจัดวางแบบประสาน
2. ความสมดุล (Balance)
2.1. ความสมดุลแบบสมมาตร
2.2. ความสมดุลแบบอสมมาตร
3. จังหวะ (Rhythm)
จังหวะ คือ ช่วงความห่างและความสัมพันธ์ของการจัดองค์ประกอบ ที่นำมาวางให้ต่อเนื่องกัน มีความสม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอ ขนาดเล็กไปใหญ่ จากสีอ่อนไปสีแก่ จากพื้นผิวเรียบไปพื้นผิวหยาบ มีรูปทรงที่เหมือนกันและไม่เหมือนกันแต่ถูกจัดวางให้ต่อเนื่องกัน เป็นการทำซ้ำที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวและความสวยงามสามารถใช้องค์ประกอบได้หลาย ไม่ว่าจะเป็น สี เส้น รูปร่าง รูปทรง พื้นผิวรวมถึงระยะห่างด้วยครับ
4. สัดส่วน (Proportion)
4.1. สัดส่วนตามมาตราฐาน
4.2. สัดส่วนตามความรู้สึก
5. การเน้น (Emphasis)
6. เส้น (Line)
6.1. เส้นตรง
6.2. เส้นโค้ง
7. สี (Color)
ทางเราได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สีในการออกไว้แบบแล้วสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ : ( การใช้สีในการออกแบบ )
8. วัสดุ (Material)
9. ทิศทาง (Direction)
ทิศทาง คือ ส่วนที่ใช้กำหนดเป้าหมายของการจัดองค์ประกอบ เป็นส่วนเสริมที่ทำให้จุดเด่นของงานดูน่าสนใจมากขึ้นไปอีก เสริมให้ผู้เสพงานมองที่จุดรวมสายตาให้มากขึ้นและสนใจสิ่งรอบข้างให้น้อยลง ให้สื่อสารสารที่ต้องการนำเสนอได้ดีขึ้น